ศูนย์โรคเอดส์ประจำภูมิภาคชูโงะคุและชิโกะคุ
เกี่ยวกับศูนย์โรคเอดส์

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยฮิโรชิม่า

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยฮิโรชิม่า
เว็บไซต์ https://www.hiroshima-u.ac.jp/en/hosp
ที่ตั้ง 1-2-3 คาซุมิ มินามิคุ ฮิโรชิม่า ซิตี้ จังหวัดฮิโรชิม่า ประเทศญี่ปุ่น 734-8551
หมายเลขโทรศัพท์ 082-257-5555
การเดินทาง จากสถานีเจอาร์ ฮิโรชิม่า สามารถขึ้นรถบัสที่มุ่งหน้าไปยัง "Daigaku Byoin mae (University Hospital หรือ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย)" จากนั้น ลงรถที่ป้าย (รถบัสจะใช้เวลาราว 15 นาทีในการถึงป้ายที่จะลง)
ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับผู้ติดเชื้อ HIV ณ สิ้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2567 ได้ทำการรักษาผู้ป่วยไป 412 คนแล้ว
แผนกต่างๆ ที่ให้การบำบัดรักษา ทุกแผนก รวมถึง แผนกอายุรศาสตร์ แผนกศัลยกรรม และแผนกทันตกรรมล้วนให้การบำบัดรักษาผู้ติดเชื้อ HIV ทั้งสิ้น

ทีมดูแลการติดเชื้อ HIV

คณะทำงาน

  • Teruhisa Fujii (แพทย์ แผนกให้เลือด)
  • Naoya Yamasaki (แพทย์ แผนกให้เลือด)
  • Kayo Toishigawa (แพทย์ แผนกให้เลือด)
  • Masaki Kakimoto (แพทย์ แผนกอายุรศาสตร์ทั่วไป)
  • Seiji Saito (แพทย์ และตำแหน่งพาร์ทไทม์ แผนกให้เลือด)
  • Yumi Shishida (พยาบาล แผนกพยาบาล)
  • Kotomi Fukushima (พยาบาล แผนกพยาบาล)
  • Ryoko Sakamoto (พยาบาล สำนักงานดูแลโรคเอดส์)
  • Shiho Goto (พยาบาล สำนักงานดูแลโรคเอดส์)
  • Soichiro Ishii (เภสัชกร แผนกบริการทางเภสัชกรรม)
  • Kenji Fujii (เภสัชกร แผนกบริการทางเภสัชกรรม)
  • Marino Itamura (เภสัชกร แผนกบริการทางเภสัชกรรม)
  • Nobuko Kihana (นักจิตวิทยา สำนักงานดูแลโรคเอดส์)
  • Yukie Sugimoto (นักจิตวิทยา สำนักงานดูแลโรคเอดส์)
  • Hiromi Koh (นักจิตวิทยา สำนักงานดูแลโรคเอดส์)
  • Eiko Shigenobu (นักสังคมสงเคราะห์ สำนักงานดูแลโรคเอดส์)
  • Hideki Shiba (ทันตแพทย์ แผนกทันตกรรมบูรณะและทันตกรรมอนุรักษ์)
  • Tomoyuki Iwata (ทันตแพทย์ แผนกคลินิกโรคเนื้อเยื่อในและโรคปริทันต์)
  • Tomoaki Shintani (ทันตแพทย์ ศูนย์เพื่อการตรวจทางคลินิกในช่องปาก)
  • Miho Okada (ทันตานามัย แผนกสนับสนุนทางคลินิก)
  • Maiko Kawago (ทันตานามัย แผนกสนับสนุนทางคลินิก)

ที่ปรึกษาพาร์ทไทม์ (สำหรับส่งออกไป)

  • Teiji Uchino (นักจิตวิทยา)

คณะทำงานเหล่านี้ให้การดูแลโดยตรงแก่ผู้ป่วย มีการจัดประชุม สัมมนาทีม HIV สัปดาห์ละหนึ่งครั้ง เพื่อยกระดับความร่วมมือในการรักษาพยาบาล โดยการแบ่งปันข้อมูล ข่าวสารต่างๆ แก่กันและกัน และวิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ ร่วมกัน

หมายเลขติดต่อ

หมายเลขโทรศัพท์: 082-257-5555

กรุณาอ้างแผนกหลักจากด้านล่างนี้

แผนกโลหิตวิทยาและมะเร็งวิทยา

วันตรวจ

  จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์
ช่วงเช้า   Fujii
Saito
(ที่ 2 และที่ 4)
Yamasaki Fujii
ช่วงบ่าย Yamasaki
Kakimoto
(เฉพาะกรณีกลับมาตรวจ/รักษาซ้ำเท่านั้น)
Fujii
Saito
(ที่ 2 และที่ 4)
Fujii
(ตั้งแต่เวลา 14.00 เป็นต้นไป)
Fujii

แพทย์ผู้ดูแล

  • Teruhisa Fujii
  • Naoya Yamasaki
  • Seiji Saito
  • Masaki Kakimoto(แผนกอายุรศาสตร์ทั่วไป)

พยาบาลผู้ดูแล

  • Yumi Shishida
  • Kotomi Fukushima
  • Ryoko Sakamoto
  • Shiho Goto

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

หมายเลขติดต่อ

หมายเลขโทรศัพท์ : 082-257-5475 (แผนกผู้ป่วยนอก)

ทันตกรรม

วันที่รับพบครั้งแรก

  • ช่วงเช้าของวันจันทร์ถึงวันศุกร์

ผู้รับผิดชอบ

ทันตแพทย์:
  • Tomoyuki Iwata (แผนกคลินิกโรคเนื้อเยื่อในและโรคปริทันต์)
  • Hideki Shiba (แผนกทันตกรรมบูรณะและทันตกรรมอนุรักษ์)
ทันตานามัย:
  • Miho Okada (กลุ่มงานทันตานามัย แผนกสนับสนุนทางคลินิก)
  • Maiko Kawago (กลุ่มงานทันตานามัย แผนกสนับสนุนทางคลินิก)

ทันตแพทย์และทันตานามัยที่ผ่านมาอบรมเฉพาะทางด้านโรคเอดส์และการติดเชื้อ HIV มา จะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลสุขภาพฟันของผู้ป่วยด้านนี้ และยังช่วยให้เกิดการดูแลสุขอนามัยในช่องปากอย่างสม่ำเสมอแก่ผู้ป่วยด้วย (ในที่นี้ หมายถึง การแนะนำเรื่องการแปรงฟัน และตรวจสอบสุขภาพช่องปาก)

หมายเลขติดต่อ

หมายเลขโทรศัพท์ : หน่วยรับบริการทันตกรรม 082-257-5703 (302 หน่วยรับ)

สำนักงานดูแลโรคเอดส์

ผู้รับผิดชอบ

  • Teruhisa Fujii (หัวหน้าและแพทย์)
  • Nobuko Kihana(นักจิตวิทยา)
  • Yukie Sugimoto (นักจิตวิทยา)
  • Hiromi Koh (นักจิตวิทยา)
  • Ryoko Sakamoto(พยาบาล)
  • Shiho Goto(พยาบาล)
  • Eiko Shigenobu(นักสังคมสงเคราะห์)
  • Kyoko Hamamoto(ผู้รับผิดชอบด้านข้อมูล ข่าวสาร)

หมายเลขติดต่อ

หมายเลขโทรศัพท์ : 082-257-5555

กลุ่มทำงานด้านโรคเอดส์ (แผนกพยาบาล)

คำอธิบายโดยคร่าว

คณะทำงานนี้จะดำเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลาย เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจและทักษะความสามารถการพยาบาลในทางปฏิบัติของตนในเรื่องเชื้อ HIV/โรคเอดส์

คณะทำงาน

จำนวนพยาบาล : 18 คน

กิจกรรมต่างๆ

  • กิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจำสองเดือนครั้ง: การแบ่งปัน รับรู้ข้อมูล ข่าวสารร่วมกันและการประชุมเชิงปฏิบัติ (Workshop) กลุ่มย่อย
  • การเข้าร่วมประชุมต่างๆ ของสมาคมโรคเอดส์ และนำเสนอเรื่องต่างๆ ต่อสมาคม
  • การให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ ระหว่างการประชุมการอบรมพยาบาล
  • การจัดให้มีการประชุมศึกษาเกี่ยวกับ พยาบาลประจำ (ปีละครั้ง)
  • การนำเสนอเรื่องต่างๆ ในที่ประชุมรายงานกิจกรรมต่อความท้าทายใหม่ๆ ในแผนกพยาบาล
  • การเข้าร่วมกิจกรรมทางการศึกษา HIV และการรณรงค์เพื่อให้เกิดการตระหนักรู้ในระดับท้องถิ่น

หน่วยงานอื่น

PageUP